การวิเคราะห์ทางสถิติดว้ ยโปรแกรม STATA สถิติ one-sample t-test independent t-test/paired t-test ผศ. นิคม ถนอมเสียง ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Email: nikom@kku.ac.th WebPage: http://home.kku.ac.th/nikom ปัญหาการวิจัย ทบทวนเอกสาร/วิจัย รายงานผล กําหนดตัวแปรทีเ$ กีย$ วข้ อง วัตถประสงค์ /สมมติุ ฐาน ุ การแปลผลข้ อมลู การวิเคราะห์ ข้อมลู กระบวนการวิจัย รปแบบการวิ จัย ู Research Process ประชากร/ตัวอย่ าง การรวบรวมข้ อมลู 1 การพิจารณาใช้ สถิติเพือ$ ทดสอบสมมติุ ฐาน 1. คําถามหรือวัตถประสงค์ ของการวิจัย ุ (objective) หรือสมมติุ ฐานการวิจัย 2. รปแบบของการวิ จัย (study design) ู พิจารณาขนาดตัวอย่ าง 3. พิจารณา Assumption เช่ น -ระดับการวัดของตัวแปร -ความแปรปรวน -ลักษณะการแจกแจงข้ อมลู การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลีKย 1 กลุ่ม -ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร One Sample t-test t= x−µ s/ n 95 %CI = x ± t α/ 2 , df (s/ n) Assumption -ข้ อมูลมีการแจกแจงแบบปกติ -มีระดับการวัด interval หรือ ratio scale 2 ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลีKย 1 กลุ่ม เมืKอไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร One Sample t-test t = x − µ ; df = n − 1 s/ n กรณี ละเมิด Assumption ใช้ Wilcoxon Sign Rank Test - ศึกษาประชากรกลุ่มเดียว - เช่นค่าเฉลี7 ยความ sysBP ของชายกลุ่มอายุมากกว่า 40 ปี มี bmi 20-25 มีค่ามากกว่าเกณฑ์ปกติ 120 mmHg คําถามการวิจัย: ค่าเฉลี7 ยของ sysbp ในผู้ชายอายุมากกว่า 40 ปี มีค่าเท่ากับ 120 mmHg หรือไม่ ข้ อมูล 120 130 130 140 140 140 150 150 160 ทดสอบการแจกแจงแบบปกติ . swilk sysbp Shapiro-Wilk W test for normal data Variable | Obs W V z Prob>z -------------+------------------------------------------------sysbp | 9 0.99549 0.066 -3.538 0.99980 3 คําถาม ค่าเฉลีย$ sysbp ในกล่มุ ผ้ชู ายสงอายมากกว่ า 40 ปี ู ุ bmi 20-25 มีค่าแตกต่ างกับ 120 mmHg หรือไม่ 1. สมมุติฐาน H0 : µ = 120 HA : µ ≠ 120 2. กําหนดระดับนัยสําคัญ 0.05 3. เลือกวิธกี ารทางสถิติและคํานวณค่าสถิติ x−µ t= s/ n 3. เลือกวิธกี ารทางสถิตแิ ละคํานวณค่าสถิติ t= x−µ = s/ n 140 −120 12 . 25 / 9 = 4 . 899 ข้อมูล 120 130 130 140 140 140 150 150 160 . su Variable | Obs Mean Std. Dev. Min Max -------------+----------------------------------------------------sysbp | 9 140 12.24745 120 160 95 %CI = x ± t α/ 2 , df (s/ n) ( t.05 / 2 ,9 ) 95 %CI = 140 ± 2 . 26 ( 12 . 25 / 9) 4 . ttest sysbp == 120 One-sample t test -----------------------------------------------------------------------------Variable | Obs Mean Std. Err. Std. Dev. [95% Conf. Interval] ---------+-------------------------------------------------------------------sysbp | 9 140 4.082483 12.24745 130.5858 149.4142 -----------------------------------------------------------------------------mean = mean(sysbp) t = 4.8990 Ho: mean = 120 degrees of freedom = 8 Ha: mean < 120 Pr(T < t) = 0.9994 Ha: mean != 120 Pr(|T| > |t|) = 0.0012 Ha: mean > 120 Pr(T > t) = 0.0006 หาค่า P-value เปิ ดตาราง T=4.8990 ;df=9-1 ;p-value = ? 5. ตัดสินใจและสรุปผล 4. ่ ย sysBP ของชายกลุ่มอายุมากกวา่ 40 ปี มี bmi 20-25 มีแตกตางก ่ คาเฉลี ั ่ นยั สําคัญทางสถิติ 95% ci มีคา่ กบเกณฑ์ ปกติ 120 mmHg อยางมี ่ ั 130.59-149.41 mm.Hg เทากบ ่ %CI กบการทดสอบสมมุ ั ความสัมพันธ์ระหวาง ติฐาน ่ กาหนดในสมมุ ํ คาที ติฐาน H0 1 2 3 CI ่ ํ ่ อมัน = non-significant เมือ คากาหนด (2) ใน H0 อยูใ่ นชวงเชื ่ ํ ่ อมัน = significant คากาหนด (1,3) ใน H0 อยูน่ อกชวงเชื 5 ่ %CI กบการทดสอบสมมุ ั ความสัมพันธ์ระหวาง ติฐาน ่ กาหนดในสมมุ ํ คาที ติฐาน H0 : µ = 120 120 130.59 149.41 CI ่ ่ ั 130.59-149.41 mm.Hg ตัวอย่ าง 95% ci มีคาเทากบ ดังนั7 น คา่ H0 = 120 อยู่นอกช่ วงเชื$อมัน$ = significant คําสั$ ง ttest varname , mu= # varname = ตัวแปรทีKตอ้ งการทดสอบ # = ค่าเฉลีKยตามสมมุติฐานหรือทีKตอ้ งการทดสอบ เมนู 6 sysbp . ttest sysbp == 120 One-sample t test -----------------------------------------------------------------------------Variable | Obs Mean Std. Err. Std. Dev. [95% Conf. Interval] ---------+-------------------------------------------------------------------sysbp | 9 140 4.082483 12.24745 130.5858 149.4142 -----------------------------------------------------------------------------mean = mean(sysbp) t = 4.8990 Ho: mean = 120 degrees of freedom = 8 Ha: mean < 120 Pr(T < t) = 0.9994 Ha: mean != 120 Pr(|T| > |t|) = 0.0012 Ha: mean > 120 Pr(T > t) = 0.0006 ค่าเฉลี7 ย sysBP ของชายกลุ่มอายุมากกว่า 40 ปี มี bmi 20-25 มีแตกต่าง กับเกณฑ์ปกติ 120 mmHg อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ 95% ci มีค่าเท่ากับ 130.59-149.41 mm.Hg 7 ทดสอบความแตกต่ างของค่ าเฉลีย$ 2 กล่ มุ ที$เป็ นอิสระต่ อกัน เมื$อไม่ ทราบค่ าความแปรปรวนของประชากร -Independent t-test ่ ั ความแปรปรวนของข้อมูล 2 กลุ่มเทากน ่ ่ ั ความแปรปรวนของข้อมูล 2 กลุ่มไมเทากน ่ ่ ั อไมใช้ ่ F-Test -การทดสอบวาความแปรวนเทากนหรื ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลีKย 2 กลุ่มทีKเป็ นอิสระต่อกัน เมืKอความแปรปรวนเท่ากัน (independent t-test แบบ pooled variance) ความแปรปรวนเท่ ากัน x −x 1 2 t= 1 1 S + p n n 1 2 Standard error n s2 + n s2 2 2 S = 11 n +n −2 1 2 2 p 2 (x − x ) n S 2i = ∑ i i = 1 n −1 df = n + n − 2 1 2 8 ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลีKย 2 กลุ่มทีKเป็ นอิสระต่อกัน เมืKอความแปรปรวนไม่เท่ากัน (Independent t-test แบบ unequal variance) ความแปรปรวนไม่ เท่ ากัน Standard error x −x t= 1 2 s12 s 22 + n n 1 2 df = ( s12 n1 n (x − x) 2 Si = ∑ i i = 1 n −1 2 ) 2 + s 22 n2 + s22 n2 n2 −1 2 s12 n1 n1 −1 2 95%CI = ( x1 − x2 ) ± tα/ 2,df (se) df = n + n − 2 1 2 df = ( s12 n1 2 s12 n1 n1 −1 + + s 22 n2 ) ความแปรปรวนเท่ ากัน 2 ความแปรปรวนไม่ เท่ ากัน 2 s22 n2 n2 −1 9 ํ ข้อกาหนด (Assumption) -ข้ อมลแต่ ู ละชดุ มีการแจกแจงแบบปกติ กรณี ละเมิด Assumption ใช้ Wilcoxon Rank Sum Test หรือ Mann-Whitney Test ่ ั อไมใช้ ่ F-Test การทดสอบความแปรปรวนเทากนหรื สมมุติฐาน H 0 : σ12 = σ 22 , H A : σ12 ≠ σ 22 ํ กาหนดระดั บนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 ่ ติ 2 คํานวณคาสถิ s1 2 2 F = 2 ; s1 > s2 ; df1= n1−1,df2 = n2 −1 s2 70.447762 F= = 3.011 2 40.5984 ่ ั สรุ ปผล ข้อมูล 2 ชุดมีความแปรปรวนเทากน 10 ่ ยของ chol ในผูช้ ายอายุมากกวา่ 40 ปี ไมออกกาลั ่ ํ งกาย คําถามการวิจยั : คาเฉลี ํ งกายสมําเสมอ (กลุ่ม 2 )แตกตางกนหรื ่ ั อไม่ (กลุ่ม 1) และออกกาลั idno gr chol 1 1 154 2 1 262 3 0 299 4 0 438 5 1 176 6 1 193 7 1 193 8 0 336 9 0 336 10 0 245 ่ ยของ chol ในผูช้ ายอายุมากกวา่ 40 ปี คําถาม คาเฉลี ่ ํ งกาย (กลุ่ม 1) และออกกาลั ํ งกายสมําเสมอ ไมออกกาลั ่ ั อไม่ (กลุ่ม 2 )แตกตางกนหรื 1.ตั7 งสมมุติฐาน H0 : µ 1 = µ 2 H 0 : µ1 − µ 2 = 0 HA : µ1 ≠ µ 2 หรื อ H A : µ1 − µ 2 ≠ 0 2. กําหนดระดับนัยสําคัญ 0.05 11 ่ ติ 3. เลือกวิธีการทางสถิติและคํานวณคาสถิ ่ ั อไม่ ให้ทดสอบวา่ variance เทากนหรื . sdtest chol, by(gr) Variance ratio test -----------------------------------------------------------------------------Group | Obs Mean Std. Err. Std. Dev. [95% Conf. Interval] ---------+-------------------------------------------------------------------0 | 5 330.8 31.55852 70.56699 243.1795 418.4205 1 | 5 195.6 18.07927 40.42648 145.4039 245.7961 ---------+-------------------------------------------------------------------combined | 10 263.2 28.31443 89.53807 199.1483 327.2517 -----------------------------------------------------------------------------ratio = sd(0) / sd(1) f = 3.0470 Ho: ratio = 1 degrees of freedom = 4, 4 Ha: ratio < 1 Pr(F < f) = 0.8470 Ha: ratio != 1 2*Pr(F > f) = 0.3060 Ha: ratio > 1 Pr(F > f) = 0.1530 พบว่าความแปรปรวนของสองกลุ่มเท่ากันใช้ independent t-test แบบ pooled variance ความแปรปรวนเท่ ากัน x −x 1 2 t= 1 1 S + p n n 1 2 Standard error 2 + n s2 n s 2 2 S2p = 1 1 n +n −2 1 2 2 (x − x ) n S 2i = ∑ i i = 1 n −1 df = n + n − 2 1 2 12 วิธีคํานวณด้วย Manual เมืKอความแปรปรวนเท่ากัน . su chol if gr==1 Variable | Obs Mean Std. Dev. Min Max -------------+----------------------------------------------------chol | 5 195.6296 40.5984 153.9819 262.3016 . su chol if gr==0 Variable | Obs Mean Std. Dev. Min Max -------------+----------------------------------------------------chol | 5 330.8275 70.44776 245.3274 437.8791 t= 330.8 − 195.6 = 3.7 1 1 S + p 5 5 4. หาคา่ P-value กรณี เปิ ดตาราง t-value = 3.7 ;df = 5+5-1 ;p-value <.05 5. ตัดสิ นใจและสรุ ปผล ่ ยของ chol ในผูช้ ายอายุมากกวา่ 40 ปี กลุ่มไมออกกาลั ่ ํ ง คาเฉลี ํ งกายสมําเสมอ แตกตางกน ่ ั กายและกลุ่มออกกาลั ่ นยั สําคัญทางสถิติ อยางมี 13 ทดสอบข้อมูลแต่ละชุดมีการแจกแจงแบบปกติ . swilk chol if gr==0 Shapiro-Wilk W test for normal data Variable | Obs W V z Prob>z -------------+------------------------------------------------chol | 5 0.97679 0.274 -1.383 0.91674 . swilk chol if gr==1 Shapiro-Wilk W test for normal data Variable | Obs W V z Prob>z -------------+------------------------------------------------chol | 5 0.91232 1.035 0.046 0.48164 ทดสอบ variance เท่ากันหรือไม่ โดยใช้ F-TEST คําสั7ง sdtest varname , by(groupvar) 14 chol gr . sdtest chol, by(gr) Variance ratio test -----------------------------------------------------------------------------Group | Obs Mean Std. Err. Std. Dev. [95% Conf. Interval] ---------+-------------------------------------------------------------------0 | 5 330.8 31.55852 70.56699 243.1795 418.4205 1 | 5 195.6 18.07927 40.42648 145.4039 245.7961 ---------+-------------------------------------------------------------------combined | 10 263.2 28.31443 89.53807 199.1483 327.2517 -----------------------------------------------------------------------------ratio = sd(0) / sd(1) f = 3.0470 Ho: ratio = 1 degrees of freedom = 4, 4 Ha: ratio < 1 Pr(F < f) = 0.8470 Ha: ratio != 1 2*Pr(F > f) = 0.3060 Ha: ratio > 1 Pr(F > f) = 0.1530 ข้ อมูล 2 ชุดมีความแปรปรวนเท่ากัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ 15 คําสั$ ง ttest varname1 == varname2 , unpaired [unequal] ttest varname , by(groupvar) เมนู 16 . ttest chol, by(gr) Two-sample t test with equal variances -----------------------------------------------------------------------------Group | Obs Mean Std. Err. Std. Dev. [95% Conf. Interval] ---------+-------------------------------------------------------------------0 | 5 330.8 31.55852 70.56699 243.1795 418.4205 1 | 5 195.6 18.07927 40.42648 145.4039 245.7961 ---------+-------------------------------------------------------------------combined | 10 263.2 28.31443 89.53807 199.1483 327.2517 ---------+-------------------------------------------------------------------diff | 135.2 36.37032 51.3299 219.0701 -----------------------------------------------------------------------------diff = mean(0) - mean(1) t = 3.7173 Ho: diff = 0 degrees of freedom = 8 Ha: diff < 0 Pr(T < t) = 0.9971 H 0 : µ1 = µ 2 Ha: diff != 0 Pr(|T| > |t|) = 0.0059 Ha: diff > 0 Pr(T > t) = 0.0029 H A : µ1 ≠ µ 2 95 %CI = ( x1 − x 2 ) ± t α/ 2 , df (se) ่ %CI กบการทดสอบสมมุ ั ความสัมพันธ์ระหวาง ติฐาน ่ กาหนดในสมมุ ํ คาที ติฐาน H0 : µ 1 = µ 2 หรื อ 0 H 0 : µ1 − µ 2 = 0 51.33 219.07 CI ่ ่ ั 51.33-219.07 mm.Hg ตัวอย่ าง 95% ci มีคาเทากบ ดังนั7 น คา่ H0 = 0 อยู่นอกช่ วงเชื$อมั$น = significant 17 ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลีKย 2 กลุ่ม ทีKไม่เป็ นอิสระต่อกัน เมืKอไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร paired t-test t= Standard error di 2 (d − d ) n S 2i = ∑ i i = 1 n −1 sd n df = n - 1 95 %CI = d ± t α/ 2 , df (se) ข้ อกําหนด (Assumption) ่ -ความแตกตางของข้ อมูลสองชุด (di) มีการแจกแจงแบบปกติ cho1 cho2 d 300 240 -60 320 300 -20 330 330 0 330 300 -30 340 312 -28 กรณี ละเมิด Assumption ใช้ Wilcoxon match pair sign rank 18 คําถามการวิจัย: ระดับของ chol ในผู้ชายอายุมากกว่า 40 ปี ก่อน และหลังออกกําลังกาย 3 เดือน แตกต่างกันหรือไม่ cho1 cho2 d 300 240 -60 320 300 -20 330 330 0 330 300 -30 340 312 -28 คําถาม ระดับของ chol ในผู้ชายอายุมากกว่า 40 ปี ก่อนและหลัง ออกกําลังกายแตกต่างกันหรือไม่ 1. ตั`งสมมุติฐาน H0 : µ d = 0 HA : µd ≠ 0 2. กําหนดระดับนัยสําคัญ 0.05 19 3. เลือกวิธกี ารทางสถิติและคํานวณค่าสถิติ . swilk d Shapiro-Wilk W test for normal data Variable | Obs W V z Prob>z -------------+------------------------------------------------d | 5 0.95382 0.545 -0.721 0.76445 . su d Variable | Obs Mean Std. Dev. Min Max -------------+----------------------------------------------------d | 5 -27.6 21.65179 -60 0 t = di sd n = − 27.6 21.7 5 = − 2.9 4. หาค่า P-value เปิ ดตาราง T=-2.9 ;df=5-1;p-value <.025 5. ตัดสินใจและสรุปผล ระดับของ chol ในผู้ชายอายุมากกว่า 40 ปี ก่อนและหลัง ออกกําลังกายแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ คําสั$ ง ttest varname1 == varname2 เมนู 20 . ttest cho1 == cho2 Paired t test -----------------------------------------------------------------------------Variable | Obs Mean Std. Err. Std. Dev. [95% Conf. Interval] ---------+-------------------------------------------------------------------cho1 | 5 324 6.78233 15.16575 305.1692 342.8308 cho2 | 5 296.4 15.13142 33.83489 254.3884 338.4116 ---------+-------------------------------------------------------------------diff | 5 27.6 9.682975 21.65179 .7157522 54.48425 -----------------------------------------------------------------------------mean(diff) = mean(cho1 - cho2) t = 2.8504 Ho: mean(diff) = 0 degrees of freedom = 4 Ha: mean(diff) < 0 Pr(T < t) = 0.9768 Ha: mean(diff) != 0 Pr(|T| > |t|) = 0.0464 Ha: mean(diff) > 0 Pr(T > t) = 0.0232 95 %CI = d ± t α/ 2 , df (se) สรุปผล ระดับของ chol ในผู้ชายอายุมากกว่า 40 ปี ก่อนและหลัง ออกกําลังกายแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยที7 95% CI เท่ากับของความแตกต่างเท่ากับ 0.72-54.48 21 ่ %CI กบการทดสอบสมมุ ั ความสัมพันธ์ระหวาง ติฐาน ่ กาหนดในสมมุ ํ คาที ติฐาน H0 : µ d = 0 หรื อ 0 .72 54.48 CI ่ ่ ั .72-54.48 ตัวอย่ าง 95% ci มีคาเทากบ ดังนั7 น คา่ H0 = 0 อยู่นอกช่ วงเชื$อมั$น = significant ่ %CI กบการทดสอบสมมุ ั ความสัมพันธ์ระหวาง ติฐาน ่ กาหนดในสมมุ ํ คาที ติฐาน H0 : µ d = 0 หรื อ 0 -54.48 -.72 CI ่ ่ ั -54.48 ถึง -.72 ตัวอย่ าง 95% ci มีคาเทากบ ดังนั7 น คา่ H0 = 0 อยู่นอกช่ วงเชื$อมั$น = significant 22
© Copyright 2025