โดย: นายเอกพันธ์ จิระทวีลาภ รหัสนิสิต 50101010336 HM17 section B 05 ปัจจุบนั ไดร์ฟซีดีรอม หรื อ Compact Disk - Read Only Memory Drive กลายเป็ นอุปกรณ์มาตรฐานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ไปแล้ว เครื่ องใหม่ ๆ หรื อ เมื่อ 2-3 ปี ก่อน มักจะมีซีดีรอม มาเป็ นอุปกรณ์ชุดของคอมพิวเตอร์เลยไม่วา่ จะเป็ นแบ รนด์เนมหรื อประกอบเองตามห้างอย่างพันธุ์ทิพย์ เนื่องจาก เทคโนโลยีการพัฒนาซีดีรอมไดร์ฟเอง ทาให้ราคาต่อหน่วยถูกลง ราคาเพียงพันต้น ๆ เราก็สามารถซื้อหามาใช้กนั ได้แล้ว ปัจจุบนั ไดร์ฟ ซีดีรอมก็มีความเร็ว ในการอ่านแผ่นกันสู งมาก ถึง 50X ขึ้นไป กันแล้ว ซึ่งคงไม่เร็ วไปมากกว่า นี้แล้ว ด้วยข้อจากัดของเทคโนโลยีของไดร์ฟเองที่เป็ นแบบ CLV ซึ่งจะทาให้ การอ่านข้อมูล ผิดพลาดได้ เนื่องจากการหมุนแผ่นที่เร็วมากเกินไปนัน่ เอง เหตุผลทีทาให้ซีดีรอมไดร์ฟ ได้รับความ นิยมจนกลายเป็ นอุปกรณ์มาตรฐานใน คอมพิวเตอร์ ก็เนื่องจาก ความจาเป็ นในการจัดเก็บข้อมูล ขนาดใหญ่ ๆ นัน่ เอง สมัยก่อนเราคงจะเคยมีประสบการณ์ ที่เวลาจะใช้โปรแกรมสักตัวหนึ่ ง จะต้องติดตั้งจากแผ่นดิสก์เก็ตหลาย ๆ แผ่น อย่าง ไมโครซอฟท์ออฟฟิ ศ ก็มีดว้ ยกันถึง 10 แผ่น หากเกิดปัญหากับแผ่นใด ก็เป็ นอันว่าหมดหวังครับ นอกจากนี้แล้ว โปรแกรมต่าง ๆ ที่มีการพัฒนาขึ้นมาในเรื่ องความสามารถ ก็มีขนาดใหญ่ข้ ึน ตามไปด้วย ไม่วา่ จะเป็ น โปรแกรมใช้งาน หรื อเกมส์ ซึ่ งก็จะถูกบันทึกลงบนแผ่นซีดีรอมทั้งสิ้ น ด้วยเหตุผลนี้เอง จึงทาให้การใช้ซีดีรอมไดร์ฟมีความจาเป็ นมากขึ้นตามลาดับ จนในปัจจุบนั กล่าวได้ เลยว่า ร้อยเปอร์เซนต์ของโปรแกรม หรื อเกมส์ จะถูกจัดเก็บลงบนซีดีรอมทั้งสิ้ น และแน่นอนครับ ว่าต้องติดตั้งผ่านไดร์ฟซี ดีรอม จัดเตรียมอุปกรณ์ ให้ พร้ อม จากเหตุผลข้างต้น ทาให้เราต้องสัมผัสกับซีดีรอมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทั้งที่เป็ นโปรแกรม หรื อโอ เอสที่เราจาเป็ นต้องมีสาหรับการใช้งาน หรื อเกมส์ และเพลง MP3 ที่เราใช้สาหรับพักผ่อนเพื่อความ บันเทิง ซึ่งแผ่นซีดีรอมเหล่านี้ เราอาจได้มาจากการซื้อหา หรื อจัดทาได้ดว้ ยตัวเองด้วยการก๊อปปี้ โปรแกรม หนังเพลงที่เราชอบ ซึ่งก็จะช่วยให้เราประหยัดไปได้มากครับ การเริ่ มต้นเขียนแผ่นซี ดี สาหรับมือใหม่ เราคงอาจสงสัยครับว่า ต้องมีอะไรกันบ้าง สิ่ งที่เราต้องมี ก็ จะต้องประกอบด้วย 1. ไดร์ฟสาหรับอ่านหรื อเขียนแผ่นซี ดีรอม (CD Writer) แน่นอนครับก่อนอื่นเราต้งอมีไดร์สาหรับอ่าน และเขียนแผ่นซี ดีรอม หรื อที่เรี ยกว่า CD Writer ก่อน ซึ่งปัจจุบนั ก็มีให้เลือกหลายแบบ หลายยีห่ อ้ ราคา ก็ลดลงมามาก ซึ่งมีต้งั แต่ราคา 6 พัน ถึง หมื่นกว่าบาท ซึ่งก็จะมีประสิ ทธิภพในการเขียน และความเร็วต่างกัน ซึ่งตรงนี้คิดว่าเราคงหา รายละเอียด จากหนังสื อ คู่มือ การซื้ ออุปกรณ์ได้ไม่ยากครับ แต่ที่อยากแนะนา ก็คือของ HP ครับ เนื่องจากประสบการณ์ที่ใช้อยูย่ อมรับเลยครับ ว่าเขียนแล้วไม่มี ปั ญหาแผ่นเสี ยน้อยมาก อีกทั้งรองรับ การเขียนที่ความเร็วต่าง ๆ หรื อที่เรี ยกว่า Multi Read . แผ่นซีดรี อมเปล่าแบบทีเ่ ขียนครัง้ เดียว CD-R หรือแบบทีเ่ ขียนซา้ ได้ CD-RW นอกจาก CD-Writer แล้ว ลาดับต่อมาก็ตอ้ งเตรียมแผ่นซีดรี อมเปล่า สาหรับเขียนข้อมูล ซึง่ ก็พอทีจ่ ะแยกได้ เป็ น 2 แบบ ด้วยกัน ดังนี้ • แผ่นซีดรี อม แบบอ่านและเขียนอย่างเดียว หรือ CD-R เป็ นแผ่นซีดรี อมทีเ่ ราเห็นขายกันอยูท่ ว่ั ไป ซึง่ เราสามารถเขียนข้อมูลลงไปได้ครัง้ เดียว เมื่อนาไปใช้จะไม่สามารถอ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถ ลบข้อมูลในแผ่นได้ เหมาะกับการจัดเก็บข้อมูลทีเ่ ราต้องการเก็บไว้ถาวร ไม่ตอ้ งการอัพเดต เข่น โปรแกรม เพลง หรือเก็บข้อมูลสาคัญ ๆ ซึง่ ก็มี ตัง้ แต่ราคา 15 - 40 บาท แล้วแต่ความจุและคุณภาพ แต่เน้นนิดนึงนะครับว่า แผ่นที่ ราคาแพง ก็ใช่วา่ จะดี มีคณ ุ ภาพเสมอไป เพราะจาก ประสบกาณ์แล้ว ผมใช้แผ่นละ 18 บาท ทีม่ ีความจุถึง 700 เมกกะไบต์ ก็สามารถเขียนแผ่นได้อย่างไม่มีปัญหา และแผ่นก็สามารถใช้งานได้ดี ทีเดียว • แผ่นซีดรี อมแบบอ่านและเขียนได้หลายครัง้ หรือ CD-RW เป็ นแผ่นซีดรี อมทีม่ ีขายทัว่ ไปเช่นกัน สามารถเขียนข้อมูลได้หลายครัง้ ซึง่ ผูผ้ ลิตแต่ละรายอ้างว่าสามารถเขียนได้เป็ นพันครัง้ แต่ สาหรับผมคิดว่า สักร้อยครัง้ นี่ ก็คมุ ้ แล้ว กลัวว่าแผ่นจะเป็ นรอย เสียไป หรือหายไปก่อนล่ะมากกว่า เหมาะกับการเขียนข้อมูลที่ มีการอัพเดตบ่อย ๆ เช่น การแบ็คอัพข้อมูล หรือใครเป็ นประเภทขี้เบื่อ ใช้โปรแกรม หรือ ดูหนังฟังเพลง บ่อย ๆ กลัวบ้านจะ รกไปด้วยซีดี ก็ลงทุนหน่อยครับ ครัง้ เดียว ซื้อหา CD-RW มาใช้ ซึง่ ราคาก็จะแพงกว่าแผ่น CD-R ประมาณ 4 5 เท่า คือ ราคาตกประมาณ 80 - 250 บาท ซึง่ ก็อกี ละครับ ว่าแผ่นทีร่ าคา แพงก็ใช่วา่ จะดี มีคณ ุ ภาพเสมอไป เพราะจากประสบกาณ์แล้ว ผมใช้แผ่นละ 80 บาท ทีม่ ีความจุถึง 650 เมกกะไบต์ ก็สามารถเขียนแผ่นได้ อย่างไม่มี ปั ญหา และแผ่นก็สามารถใช้งานได้ดไี ม่แพ้แผ่นแบบแบรนด์เนมเลย • โปรแกรมสาหรับเขียนแผ่นซีดรี อม มีโปรกรมสาหรับเขียนแผ่นซีดรี อมหลายตัวในปั จจุบนั ทีน่ ่าใช้และเป็ นทีน่ ิยม สามารถรองรับการเขียนแผ่นแบบต่าง ๆ ทัง้ CD-R หรือ CD-RW ได้ รวมถึงมีวซิ าร์ด (Wizard) ในการช่วยเขียน และสามารถเขียนแผ่นซีดรี อมได้ทงั้ แบบข้อมูล (Data CD) แบบเพลง (Audio CD) หรือแบบ หนัง (VCD) โปรแกรมหนึ่งในนัน้ ทีม่ ี ความสามารถสูงและใช้งานงายตัวหนึ่งทีจ่ ะขอแนะนาก็คอื nero BURNING ROM รู้จกั กับ nero BURNING ROM nero BURNING ROM เป็ นโปรแกรมสาหรับเขียนแผ่นซีดีรอมของบริ ษทั Ahead Software ซึ่งเป็ นที่นิยมกันมาก ที่ปัจจุบนั พัฒนามาถึงเวอร์ชนั่ 7.8.5.0 แล้ว โปรแกรมสามารถใช้งานได้ง่าย และ มีประสิ ทธิภาพสู งมาก เหมาะกับการเขียนซีดีรอม ในทุกแบบ ทุกประเภท ก็วา่ ได้ หา nero BURNING ROM ได้จากไหน เราสามารถดาวน์โหลด nero BURNING ROM ได้จากเว็บไซต์ของ Ahead Software ได้เลยที่ลิงค์ http://www.nero.com/nero7/eng/nero7demo.phpหรื อเว็บ ดาวน์โหลดโปรกรมดัง ๆ อย่าง www.download.com หรื อ http://www.nero.com/ ก็ได้ โดยโปรแกรมมีขนาด 4.85 เมกกะไบต์ ทางานบนวินโดวส์ 95, 98, NT และ 2000 รู ้จกั กับการใช้งาน nero BURNING ROM ตัวเก่ง เมื่อเราดาวน์โหลดและทาการติดตั้งโปรแกรมรเรี ยบร้อยแล้ว โปรแกรมจะสร้างช็อตคัทไอคอน ลงบนเดสก์ทอ็ ป ให้เราดับเบิ้ล คลิกได้เลย ก็จะเข้าสู่ โปรแกรม ซึ่งโปรแกรมจะให้เรากรอกข้อมูลส่ วนตัว รวมทั้ง Serial Number ซึ่งเราจะได้มาก่อ ต่อเมื่อต้องลงทะเบียนซื้อโปรแกรมก่อนครับ แต่กรณี ที่เรา จะลองใช้กนั ก่อน ดีแล้วค่อยซื้อหากัน ก็ได้ครับ ให้คลิกที่ปุ่ม Demo ได้เลย รู ปที่ 1 กรอกรายละเอียดก่อนใช้งาน โปรแกรมจะแจ้งให้เราทราบว่า ตอนนี้เราใช้โปรแกรมในแบบเดโมหรื อทดลองใช้อยู่ จะ จากัดเวลาการใช้ของเรา จนถึงเวลาที่กาหนดที่ได้แสดงไว้ ซึ่ งถ้าหมดเวลาก็ไม่สามารถใช้ได้ ครับ นอกจากนี้หากเราซื้ อเวอร์ ชนั่ จริ งแล้ว จะสามารถใช้งานได้ไม่จากัดเวลา และยังสามารถ ใช้ฟังก์ชนั่ การทางาน ของโปรแกรมได้ทุกฟังก์ชนั่ เช่น การ เขียนลงแผ่นซี ดีสองแผ่น ในเวลา เดียวกันได้ เป็ นต้น ซึ่ งก็อ่านข้อดีที่วา่ ได้จากไดอะล็อกนี้ครับ จากนั้นก็ให้เรา กดปุ่ ม OK เพื่อ ใช้งานโปรแกรมกันเลย รู ปที่ 2 กรอกรายละเอียดก่อนใช้งาน ในลาดับแรกของการใช้งานจะเข้าสู่หน้าจอหลักของโปรแกรม ที่ไดอะล็อกบ๊อกซ์ New Compilation คือ การ เลือกประเภทของการเขียนซีดี นัน่ แองครับ เพราะว่าซีดี เราก็เห็น ๆ กันอยูน่ ะครับ ว่ามีหลายแบบ หลายประเภท แต่ สังเกตว่า โปรแกรมจะเลือกเป็ นประเภท CD-ROM (ISO) ให้เรา เนื่องจากเป็ น มาตรฐานของการเขียนซีดีส่วน ใหญ่ หรื อใช้สาหรับการเก็บข้อมูลธรรมดา ลงแผ่นซีดี เช่น การสารองข้อมูลเป็ นต้น โดยจะเลือกมาที่ส่วนแท็บ Multisession ก่อน ซึ่งเจ้า Multisession นี้ คือ การกาหนดว่าจะให้มีการเขียนซีดีรอมในลักษณะแบบใด ซึ่ง ประกอบด้วย •Start Multisession disk คือให้การเขียนซีดีรอมนี้ สามารถเขียนต่อในตอนหลังได้ •Continue Multisession ใช้สาหรับเขียนต่อจากแผ่นที่ได้เขียนไปแล้วก่อนหน้า •No Multisession กาหนดให้ไม่มีการเขียนต่อในภายหลัง ซึ่งส่วนใหญ่แล้ว เรามักจะใช้ตวั เลือกที่ 3 ในการเขียนแผ่นซีดีทวั่ ๆ ไป ซึ่งก็มกั จะไม่ค่อยมีปัญหาเรื่ องแผ่นเสี ย สาหรับตัวเลือกนี้ รู ปที่ 3 กาหนดการใช้ Multisession ในการเขียนแผ่นซีดี กาหนดรู ปแบบการเขียนไฟล์ที่ File Options ถัดมาในแท็บของ File Options จะเป็ นส่วนที่ใช้สาหรับกาหนดรู ปแบบของไฟล์ที่จะทาการเขียนลงในซีดี ซึ่ งก็จะ ประกอบด้วย File/Directorynames length สาหรับกาหนดความยาวของชื่อไฟล์และไดเร็กทอรี หรื อโฟลเดอร์ ซึ่ ง ด้วยกัน 2 แบบ คือ •ISO Level 1 สาหรับกาหนดชื่อไฟล์และไดเร็กทอรี ที่จะเขียนลงแผ่นได้ 11 ตัวอักษร คือ เป็ นชื่อไฟล์ 8 ตัว และ นามสกุลอีก 3 ตัว ซึ่งเป็ น ลักษณะของชื่อไฟล์แบบเก่า •ISO Level 2 สาหรับกาหนดชื่อไฟล์และไดเร็กทอรี ที่จะเขียนลงแผ่นได้ยาวถึง 31 ตัวอักษร ซึ่ งกรณี ที่เรามีโ ลดอร์ยาว ๆ ก็ควรใช้ตวั เลือกนี้ ถ้าใช้แบบแรกจะทาให้อ่านไม่ออกครับ เริ่ มเขียนแผ่นซี ดีดว้ ย nero BURNING ROM กันเลย หลังจากที่กาหนดรายละเอียดและเงื่อนไขต่าง ๆ ในการเขียนซี ดีเรี ยบร้อยแล้ว เราจะมาลอ เริ่ มเขียนแผ่น ซี ดีกนั เลย ซึ่ งจากตัวอย่างผมจะเขียน แผ่นเพลง MP3 จากแผ่นต้นฉบับไปยัง แผ่นซี ดีเปล่า ก็จะมีข้ นั ตอน ดังนี้ 1. เลือกประเภทการเขียนแผ่นเป็ น CD-ROM (ISO) จากนั้นกาหนด Multisession เป็ น No Multisession เนื่องจากผมต้องการเขียนครั้งเดียวครับไม ต้อง การเขียนต่อ เพราะแผ่น MP3 เพลงเยอะครับ เขียนครั้งเดียวก้อเต็มแล้วครับ 2. กาหนด File Option เป็ น ISO Level 2 พร้อมกับ Format เป็ น Mode 2 เพื่อให้รองรับการเขียนไฟล์และโฟลเดอร์ยาว ๆ ได้ พร้อมกับกาหนด ตัวเลือก Juliet ด้วย เพื่อให้รองรับภาษาไทย ส่ วน Character Set และ Relax ISO Restricstion ให้ใช้ค่าดีฟอลต์ของโปรแกรม 3. กาหนด Volumn Discriptor เป็ น ISO 9660 พร้อมทั้งกาหนดรายละเอียด ของแผ่นให้เรี ยบร้อย 4. กาหนด Date หรื อวันที่ของไฟล์และไดเร็ กทอรี ที่เขียนลงในแผ่นซี ดี ในที่น้ ี ระบุเป็ น Use the date and time from original file คือใช้วนั เวลาเดียว กันกับไฟล์ ต้นฉบับ 5. กาหนด Burn แผ่นซี ดี โดยกาหนด Action ที่ตอ้ งการ ในที่น้ ีกาหนดให้ Write เพียงอย่างเดียว ไม่ตอ้ ง Determine Maximum Speed และ Simulation เนื่องจากว่าต้องใช้เวลาในการเขียนแผ่นถึง 2 เท่า แต่จะอาจมีความเสี่ ยงสู ง เพราะที่ผมใช้ ตัวเลือก Write อย่างเดียวเพราะใช้บ่อยครับ ไม่มีปัญหาแต่ถา้ สาหรับคุณ ๆ หากกลัวละ ก็อ แนะนาให้เลือก ตัวเลือก Simulation ด้วยครับ พร้อมกันนี้กใ็ ห้กาหนด Writer Speed เป็ น 4X คือเขียนที่ความเร็ วสู งสุ ด ไปเลยครับ จะได้เสร็ จไว ๆ 6. ก็เป็ นอันว่าเสร็ จขั้นตอนการกาหนดค่าการเขียนซี ดีเรี ยบร้อย ให้คลิกปุม Next ต่อไป 7. โปรแกรมจะแสดงไฟล์บราวเซอร์ และหน้าต่างเลย์เอาต์ของแผ่นซี ดีที่เราจะ เขียนข้อมูลลงไป ให้เราเลือกโฟลเดอร์ ท้ งั หมดของแผ่นแล้วลากไปวาง ใน หน้าต่างเลย์เอาต์ ดังรู ปที่ 13 โปรแกรมจะแสดงรายการที่จะเขียนลงใน ซี ดีพร้อมกับขนาดของข้อมูลที่แถบแสดงขนาดข้อมูลด้านล่าง โดยแถบสี น้ า เงิน คือขนาดของข้อมูลที่เลือกเขียนจริ ง แต่จากรู ปจะเห็นว่ามีแถบสี ส้ม เกิดขึ้น แสดงว่าข้อมูลที่เราเลือก มีขนาดเกินความจุที่แผ่นจะรับได้ให้คลิก เลือกโฟลเดอร์ บางตัวออก จนมีแต่แถบสี น้ าเงิน ไม่เช่นนั้นแล้วจะไม่ สามารถเขียนแผ่นได้ 8. คลิกเลือกเมนู File แล้วเลือกคาสั่ง Write CD เพื่อสั่งให้เริ่ มทา การเขียนแผ่นซี ดี จากข้อมูลที่เราใส่ ไว้ในหน้าต่างเลย์เอาต์ 9. โปรแกรมจะกลับมาที่ส่วน Burn อีกครั้ง เพื่อให้เราตรวจสอบเงื่อนไขการ เขียนแผ่นซี ดีอีกครั้ง ซึ่ งหากเราเปลี่ยนใจ จะกาหนด ยกเลิก อะไรก็ทาได้อีก ครั้ง เมื่อแน่ใจแล้วให้คลิกที่ปุ่ม Write ได้เลย 10. โปรแกรมจะเริ่ มเขียนข้อมูลงในผ่นซี ดี โดยจะให้เราใส่ แผ่นที่จะเขียน ข้อมูลหรื อแผ่นเปล่าไปที่ CD-Writer จากนั้นก็จะเริ่ มเขียนแผ่น ตอนนี้ก็ ให้ เรารอ จนกว่าจะเขียนเสร็ จครับ ซึ่ งก็ถา้ เต็มความจุ 650-700 เมกกะไบต์ ก็ใช้เวลาประมาณ 20 - 30 นาที ที่ CD-Writer 4X ครับ 11. เมื่อโปรแกรมเขียนแผ่นซี ดีเสร็จเรี ยบร้อยแล้ว ก็จะคายแผ่น (Eject) ที่ CDWriter ที่เขียนเสร็จแล้วออกมา พร้อมกับแสดงไดอะล็อกบ๊อกซ์วา่ เขียน แผ่นเสร็ จ เรี ยบร้อย ก็เป็ นอันว่า เราได้แผ่นเพลง MP3 สมใจเรี ยบร้อยแล้วครับ สามารถ นาไปใช้ฟังได้เลย ส่ งท้ายกับ nero BURNING ROM ถึงตอนนี้เราก็สามารถใช้ nero BURNING ROM กันได้แล้วครับ ใน การจัดเก็บข้อมูล โปรแกรมยังมีฟังก์ชนั่ ในการเขียนแผ่นอีก เช่น การเขียนแผ่น วีดีโอซี ดี (VCD)การเขียนแผ่นออดิโอ (Audio CD) เป็ นต้น ซึ่ งเราก็เลือก ประเภทของการเขียนแผ่นซี ดีที่ตง้ การแทน CD-ROM (ISO) ที่เราเลือกจาก ในตัวอย่างนี้แทน ในส่ วนรายละเอียดต่าง ๆ ก็มีลกั ษณะคล้ายกัน ซึ่ งใช้งานไม่ยาก ครับ ซึ่ งเราก็คงจะเห็นแล้วว่า nero BURNING ROM เป็ นโปรแกรม เขียนซี ดีที่ใช้งานง่าย มีประสิ ทธิภาพสู ง ในขณะเขียนแผ่นซี ดี สามารถใช้งาน โปรแกรมอื่น ๆ ก็ได้ดว้ ย ไม่ทาให้การเขียนเสี ยหาย แต่กอ็ าจจะโหลด ทาให้ชา้ บ้าง ดังนั้นหากคราวต่อไป คุณคิดจะเขียนแผ่นซี ดีแล้วละก็ อย่าลืมคิดถึง nero BURNING ROM โปรแกรมเขียนแผ่นซี ดีตวั เก่งนี้นะครับ สาเหตุทเี่ ลือกโปรแกรมนีก้ ค็ ือ ในชีวิตประจาวันของข้าพเจ้า มีความจาเป็ นที่ตอ้ งใช้โปรแกรม นี้อย่างมาก ทั้งการทางานส่ ง การฟังเพลง ดูหนัง บันเทิงต่างๆ ข้าพเจ้าจึงอยากรู ้ถึงรายละเอียดของโปรแกรมนี้มากขึ้นกว่าเดิม เพื่อ การใช้โปรแกรมนี้ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพมากยิง่ ขึ้น
© Copyright 2025